พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนที่เป็นสภาวะกลาง คือ
การปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางไม่ตึงหรือหย่อนต่อการปฏิบัติจนเกินไปเรียกว่า “ มัชฌิมาปฏิปทา ” ซึ่งมีความหมายว่า
การปฏิบัติที่พอดีมีความสมเหตุสมผล ไม่ทำอะไรที่สุดโต่ง เช่น เคร่งครัดสุดโต่ง
หรือหย่อนสุดโต่ง การพิจารณาปฏิบัติให้พอดีจากเหตุผลในสภาวะต่าง ๆ
ให้ถูกต้องตามหลักศีลธรรม กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหา
และการพัฒนาชีวิตที่ดีงาม หลักธรรมที่พระพุทธเจ้าได้ค้นพบและกำหนดไว้เป็นสภาวะกลาง
ๆ เช่น มรรค 8 ซึ่งมีรายล
วันเสาร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559
พุทธประวัติและชาดก
การตรัสรู้ ขณะมีพระชนมายุได้ 35 พรรษา ในวันที่พระองค์ตรัสรู้
นางสุชาดาได้ถวายข้าวมธุปายาส(หุงด้วยนม) ใต้ต้นไทร
เมื่อเสวยเสร็จแล้วทรงลอยถาดทองในแม่น้ำเนรัญชรา ทรงอธิษฐานเสี่ยงพระบารมีว่า
ถ้าจะได้ตรัสแก่พระปรมาภิเษกสัมโพธิญาณแล้ว ขอให้ถาดนี้จงลอยทวนกระแสน้ำขึ้นไป
ถาดทองนั้นลอยทวนกระแสน้ำขึ้นไป
ในเวลาเย็นโสตถิยะให้ถวายหญ้าคา 8 กำมือ ปูลาดเป็นอาสนะ ณ โคนใต้ต้นโพธิ
ต.อุรุเวลาเสนานิคม ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา (ปัจจุบันคือ ต.พุทธคยา อินเดีย) ทรงตั้งพระทัยแน่
วันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2559
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา และ ศาสนพิธี
ศาสนพิธี หมายถึง ระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฏิบัติในศาสนาเมื่อนำมาใช้ในพระพุทธศาสนาจึงหมายถึงระเบียบแบบแผนหรือแบบอย่างที่พึงปฏิบัติในพระพุทธศาสนาศาสนพิธีเป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกศาสนาซึ่งแตกต่างกันไปตามลักษณะความเชื่อของศาสนาหรือลัทธินั้นๆ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังศาสนา
โดยศาสนาต่าง ๆ จะเกิดขึ้นมาก่อนแล้วพิธีกรรมต่างๆ จึงเกิดขึ้น แม้จะไม่ใช่สิ่งที่เป็นแก่นสารของศาสนาแต่ท่านผู้รู้ก็เปรียบพิธีกรรมหรือศาสนพิธีว่าเป็นดังเป อ่านเพิ่มเติม
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่บังเกิดขึ้นเพื่อช่วยเหลือมนุษย์ในโลกนี้ ให้หลุดพ้นจากความทุกข์ เพราะมนุษย์ต้องอยู่เป็นกลุ่มในสังคมที่ทุกคนยอมรับว่าเป็นสังคมที่มีความเจริญรุ่งเรือง เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายในการดำรงชีพ แต่ขณะเดียวกันก็เกิดความไม่สงบขาดความมั่นคงด้าน
จิตใจ ขาดหลักที่พึ่งทางใจทำให้มีปัญหาต่อการดำรงชีวิตของตนเองและส่วนรวม
หลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมุ่งที่สอนให้มนุษย์มีหลักที่พึ่งทางใจ และมีแนวทางการประพฤติปฏิบัติที่จะทำให้เกิดมงคลแก่ชีวิต อันจะทำให้มนุษย์สามารถอยู่รวมกันในสังคมด้วยความสงบสุขและเจริญก้าวหน้า อ่านเพิ่มเติม
หลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมุ่งที่สอนให้มนุษย์มีหลักที่พึ่งทางใจ และมีแนวทางการประพฤติปฏิบัติที่จะทำให้เกิดมงคลแก่ชีวิต อันจะทำให้มนุษย์สามารถอยู่รวมกันในสังคมด้วยความสงบสุขและเจริญก้าวหน้า อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)